【ร้านรองเท้าใกล้ฉัน】‘น่าคิด’การเพิ่มทักษะ ‘คุณค่าภาษาถิ่น’ ก็สำคัญ‘อย่าด้อยค่า’ | เดลินิวส์

สำรวจ 2024-12-04 12:24:30 21573

ทั้งนี้ เวลานี้หลาย ๆ ประเทศได้ “วางหลักเกณฑ์” เรื่องดังกล่าวข้างต้น กับแนวทาง “พิจารณาให้สัญชาติ”ทำให้ “ทักษะภาษาก็เป็นองค์ประกอบสำคัญของผู้อพยพหรือผู้ลี้ภัยไปยังประเทศปลายทาง” โดยประเด็นนี้ถูกนำมาอภิปรายในเวที “New Directions East Asia 2024”ที่จัดในไทย โดย บริติช เคานซิล องค์กรนานาชาติเพื่อความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรม และโอกาสการศึกษา เมื่อเร็ว ๆ นี้

น่าคิดการเพิ่มทักษะคุณค่าภาษาถิ่นก็สำคัญอย่าด้อยค่าเดลินิวส์

นี่ยิ่ง “สะท้อนความเปลี่ยนแปลงใหญ่”

น่าคิดการเพิ่มทักษะคุณค่าภาษาถิ่นก็สำคัญอย่าด้อยค่าเดลินิวส์

ที่ “ทั่วโลกให้ความสำคัญทักษะภาษา”

น่าคิดการเพิ่มทักษะคุณค่าภาษาถิ่นก็สำคัญอย่าด้อยค่าเดลินิวส์

และ “ถูกใช้เป็นเกณฑ์การให้สัญชาติ”

น่าคิดการเพิ่มทักษะคุณค่าภาษาถิ่นก็สำคัญอย่าด้อยค่าเดลินิวส์

เกี่ยวกับมุมมองที่สะท้อนต่อ “การเตรียมความพร้อม” ในด้าน “ทักษะทางภาษา” สำหรับ “ผู้จะอพยพ ผู้จะขอลี้ภัย” นี่เป็นหัวข้อสำคัญที่ทาง ดร.โทนี่ แคปสติก ผู้เชี่ยวชาญด้านภาษาและการย้ายถิ่นฐาน นำมาอภิปรายบรรยายในเวทีที่จัดขึ้นดังกล่าวข้างต้น ภายใต้หัวข้อ“การย้ายถิ่นฐาน การพลัดถิ่น และความหลากหลายทางภาษา : การประเมินทางภาษาสำหรับโลกที่ไม่เคยหยุดนิ่ง” ซึ่งเวทีนี้ “ทีมสกู๊ปเดลินิวส์” ได้มีโอกาสเข้าไปสังเกตการณ์ และได้รับทราบข้อมูล-แง่มุมต่าง ๆ

น่าคิดการเพิ่มทักษะคุณค่าภาษาถิ่นก็สำคัญอย่าด้อยค่าเดลินิวส์

สำหรับข้อมูล-แง่มุม “ทักษะภาษากับการย้ายถิ่นฐาน”ทาง ดร.โทนี่ ระบุว่า ในปัจจุบันหลักสูตรและการประเมินทางภาษานั้นได้กลายเป็นหัวใจสำคัญในการเตรียมความพร้อมให้แก่ผู้อพยพและผู้ลี้ภัย ทำให้ผู้อพยพและผู้ลี้ภัยต่างก็มีความต้องการที่จะพัฒนาทักษะการใช้ภาษาของประเทศใหม่เพิ่มขึ้น เพื่อ เพิ่มโอกาสในการได้รับการพิจารณาสัญชาติใหม่ในประเทศปลายทางที่ต้องการอพยพหรือลี้ภัยไป อย่างไรก็ตาม แต่สิ่งที่ยังเป็น “ความท้าทาย” ก็คือ “การออกแบบเครื่องมือประเมินและหลักสูตรที่เหมาะสมกับคนกลุ่มนี้” ซึ่งมุมมอง ดร.โทนี่ มองว่า ต้องอาศัยการบูรณาการร่วมกัน

น่าคิดการเพิ่มทักษะคุณค่าภาษาถิ่นก็สำคัญอย่าด้อยค่าเดลินิวส์

“วันนี้อาจต้องบูรณาการหลักสูตรทางภาษาใหม่เข้ากับภาษาท้องถิ่นมากขึ้น เพราะเรื่องนี้มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อผู้อพยพ ผู้ลี้ภัย และชุมชนประเทศปลายทาง โดยเฉพาะหลังจากรัฐบาลประเทศต่าง ๆ หลายประเทศเริ่มออกกฎเกณฑ์ให้ผู้อพยพ หรือผู้ลี้ภัย ต้องมีทักษะภาษาของประเทศปลายทาง” ผู้เชี่ยวชาญคนเดิมย้ำถึงเรื่องนี้

น่าคิดการเพิ่มทักษะคุณค่าภาษาถิ่นก็สำคัญอย่าด้อยค่าเดลินิวส์

“ทักษะภาษา” นี่ “เป็นเงื่อนไขใหญ่”

น่าคิดการเพิ่มทักษะคุณค่าภาษาถิ่นก็สำคัญอย่าด้อยค่าเดลินิวส์

กรณี “จะไปทำงาน พำนักต่างแดน”

น่าคิดการเพิ่มทักษะคุณค่าภาษาถิ่นก็สำคัญอย่าด้อยค่าเดลินิวส์

ผู้เชี่ยวชาญคนเดิมยังระบุถึงเรื่องนี้เพิ่มเติมไว้ว่า หลัง รัฐบาลหลาย ๆ ประเทศเริ่มมีการกำหนดให้ผู้อพยพที่เป็นผู้ใหญ่ต้องมีความสามารถในการใช้ภาษาของประเทศนั้น ๆ เสียก่อน ผู้อพยพจึงจะได้รับสิทธิในการทำงาน หรือพำนักระยะยาวได้ ด้วยเหตุนี้ก็ทำให้ การเตรียมความพร้อมให้ผู้อพยพก่อนไปยังประเทศปลายทางมีความสำคัญมากขึ้น และทำให้วิธีคิดและการออกแบบหลักสูตรการเรียนการสอนให้แก่ผู้อพยพจึงต้องพิจารณาอย่างรอบคอบ โดยเฉพาะในแง่การตอบสนองต่อความต้องการเฉพาะของผู้เรียน เพื่อกำหนดวัตถุประสงค์และเนื้อหาหลักสูตรภาษาอย่างมีประสิทธิภาพ

น่าคิดการเพิ่มทักษะคุณค่าภาษาถิ่นก็สำคัญอย่าด้อยค่าเดลินิวส์

แต่ทั้งนี้ กับประเด็น “ความหลากหลายทางภาษา” ที่ก็เกี่ยวกับเรื่องนี้ ก็มีมุมสะท้อนน่าสนใจจาก ศ.เอียนธี ซิมพลี นักวิชาการด้านภาษาอังกฤษและภาษาศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ที่บรรยายไว้ในหัวข้อ “การประเมินความรู้ทางภาษาและเนื้อหา : การใช้ภาษาอังกฤษควบคู่กับภาษาแม่ในโรงเรียนประถมศึกษา” โดยระบุว่า “ภาวะหลายภาษา ความหลากหลายทางภาษา” นั้นเป็น “ลักษณะเด่นของหลายประเทศทั่วโลก โดยเฉพาะกลุ่มประเทศที่อยู่ระหว่างการพัฒนา” ซึ่งภาษาอังกฤษสำคัญต่อโอกาสและคุณภาพชีวิตของประชากรประเทศนั้น ๆ ทุกระดับการศึกษา

น่าคิดการเพิ่มทักษะคุณค่าภาษาถิ่นก็สำคัญอย่าด้อยค่าเดลินิวส์

อย่างไรก็ตาม ทาง ศ.เอียนธี ยังระบุว่า แต่บ่อยครั้งที่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียนั้นก็มีมุมมอง ทัศนคติ กับความเข้าใจที่ผิด ว่า การ ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาหลักในการเรียนการสอน หรือที่เรียกว่า “EMI” ซึ่งย่อมาจากคำว่า English as a medium of instruction หมายถึงการสอนเนื้อหาและการประเมินผลโดยใช้ภาษาอังกฤษเพียงภาษาเดียว ซึ่งเป็นความเข้าใจที่ผิด เนื่องจาก การสอนโดยใช้ภาษาเพียงภาษาเดียวนั้น ส่งผลกระทบเชิงลบต่อผลลัพธ์การเรียนรู้ ส่งผลต่อผู้เรียน

น่าคิดการเพิ่มทักษะคุณค่าภาษาถิ่นก็สำคัญอย่าด้อยค่าเดลินิวส์

“การสอนโดยใช้ภาษาเดียว ไม่เป็นผลดีต่อผู้เรียน แถมยิ่งบั่นทอนความมั่นใจและระดับความเป็นอยู่ที่ดีทั้งของผู้เรียนและผู้สอนอีกด้วย” เป็น “ผลกระทบน่าคิด” จากเรื่องนี้ ที่ระดับนักวิชาการมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ระบุไว้

น่าคิดการเพิ่มทักษะคุณค่าภาษาถิ่นก็สำคัญอย่าด้อยค่าเดลินิวส์

แล้วควรทำเช่นไร?? กับคำถามนี้ทาง ศ.เอียนธี ก็ได้เสนอแนะแนวทางไว้ โดยเฉพาะกับประเทศที่ประชากรมีความหลากหลายทางภาษา ว่า “ควรลดการแทรกแซงการเรียนการสอนหลายภาษา แต่ควรใช้วิธีบูรณาการภาษาใหม่เข้ากับภาษาถิ่น ด้วยการออกแบบนโยบาย แนวทางการสอน และวิธีประเมินผล ที่ไม่เพียงแค่จะต้องช่วยส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดความพร้อมทางภาษา แต่ยังต้องไม่ลดทอนคุณค่าภาษาถิ่นของผู้เรียนด้วย” นี่ก็เป็นอีกหนึ่ง “ประเด็นใหญ่ทางภาษาที่น่าสนใจ” จากเวทีอภิปราย “ทักษะภาษา” ซึ่งกับผู้ที่ไม่ได้จะลี้ภัย ไม่ได้จะอพยพ กับคนทั่ว ๆ ไปก็ “น่าคิด”

น่าคิดการเพิ่มทักษะคุณค่าภาษาถิ่นก็สำคัญอย่าด้อยค่าเดลินิวส์

“โลกไม่หยุดนิ่ง” ซึ่ง “เรื่องภาษาก็ด้วย”

น่าคิดการเพิ่มทักษะคุณค่าภาษาถิ่นก็สำคัญอย่าด้อยค่าเดลินิวส์

“ความพร้อมทางภาษา” นี่แม้ “สำคัญ”

น่าคิดการเพิ่มทักษะคุณค่าภาษาถิ่นก็สำคัญอย่าด้อยค่าเดลินิวส์

แต่ “ต้องไม่ด้อยค่าภาษาถิ่นของตน”.

น่าคิดการเพิ่มทักษะคุณค่าภาษาถิ่นก็สำคัญอย่าด้อยค่าเดลินิวส์

ทีมสกู๊ปเดลินิวส์

น่าคิดการเพิ่มทักษะคุณค่าภาษาถิ่นก็สำคัญอย่าด้อยค่าเดลินิวส์
本文地址:http://realhistorychan.com/html/00f599475.html
版权声明

本文仅代表作者观点,不代表本站立场。
本文系作者授权发表,未经许可,不得转载。

热门文章

全站热门

"ฟาน นิสเตลรอย" อึ้งข้อเสนอไหลมาเพียบหลังคุมผีแดงชั่วคราว | เดลินิวส์

x.com

แข้งเทพเปิดบ้านถล่มสุโขทัยบอลไทยลีก | เดลินิวส์

Redirecting...

พูดครั้งแรก! 'บิ๊กป้อม' ยันไม่เกี่ยวข้องเส้นทางเงินชื่อย่อ 'ช.' เอี่ยวรุกที่ ส.ป.ก. | เดลินิวส์

เครือข่ายสิงห์อาสา อาชีวะปทุมธานี-วิศวะลาดกระบัง ช่วยชาวบ้านริมแม่น้ำเจ้าพระยา | เดลินิวส์

โปรพราวจบที่ 3-โปรจีนเข้าที่ 8 สวิงแอลพีจีเอทัวร์ | เดลินิวส์

"จีโน" ฟอร์มอย่างแรงสวิงบีเอ็มฯยังได้ลุ้นแชมป์ | เดลินิวส์

热门文章

友情链接