【k9win เครดิตฟรี 100】‘ไม่ง่าย’จะต้องเข้าใจ ‘คุณแม่มือใหม่’ หลังคลอด ‘จิตระส่ำ!’ | เดลินิวส์

ครอบคลุม 2024-09-17 03:55:55 2271

โดยเฉพาะกับคุณแม่ที่ลูกยังอยู่ในวัยทารกที่การดูแลเลี้ยงดูเป็นภาระหนักหน่วง และโดยเฉพาะอย่างยิ่งกับผู้ที่เป็น ’คุณแม่ที่เพิ่งคลอดลูก“ ที่คุณพ่อของลูก และคนอื่น ๆ ในครอบครัว ยิ่งควร ’ต้องให้ความสำคัญและให้การดูแล
ให้มาก ๆ“ เพราะ

ไม่ง่ายจะต้องเข้าใจคุณแม่มือใหม่หลังคลอดจิตระส่ำเดลินิวส์

  ’สุขภาพกาย“ นั้น ’ยังคงไม่แข็งแรง“

ไม่ง่ายจะต้องเข้าใจคุณแม่มือใหม่หลังคลอดจิตระส่ำเดลินิวส์

  และ ’อาจมีปัญหาสุขภาพจิตใจด้วย“

ไม่ง่ายจะต้องเข้าใจคุณแม่มือใหม่หลังคลอดจิตระส่ำเดลินิวส์

  โดย ’จิตใจแย่หลังคลอดก็ต้องระวัง!!“

ไม่ง่ายจะต้องเข้าใจคุณแม่มือใหม่หลังคลอดจิตระส่ำเดลินิวส์

ทั้งนี้ กับกรณี “จิตใจแย่หลังคลอด” นี่ทาง “ทีมสกู๊ปเดลินิวส์” จะสะท้อนต่อข้อมูล ซึ่งเป็นข้อมูลจากรายงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาโปรแกรมการช่วยเหลือแม่ที่มีภาวะซึมเศร้าหลังคลอดโดยอาสาสมัครสาธารณสุข : การวิจัยนำร่อง” โดย พญ.ชดาพิมพ์ เผ่าสวัสดิ์, พญ.วีราณี เจริญวงศ์ศักดิ์ และคณะวิจัย ที่ประกอบด้วย จารุวรรณ ประดา, ทิพย์เมธี เมฆพันธุนารถ, ณฐฐาพร พันธ์โยธี ภายใต้การสนับสนุนของ สถาบันราชานุกูล กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข และ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ ซึ่งตีพิมพ์เผยแพร่ไว้เมื่อเดือน มี.ค. 2564 ที่ก็น่าสนใจสำหรับคนทั่วไป

ไม่ง่ายจะต้องเข้าใจคุณแม่มือใหม่หลังคลอดจิตระส่ำเดลินิวส์

 จากข้อมูลในรายงานวิจัยชิ้นนี้ โดยสังเขปมีว่า ’ภาวะซึมเศร้าหลังคลอด (Postpartum Depression)“ มีอาการ คล้ายโรคซึมเศร้า ที่รวมถึงอาจรู้สึกผิด-รู้สึกว่าตัวเองไร้ค่า ซึ่งก็ อาจนำสู่เหตุเศร้าสลดได้!! โดยภาวะนี้นอกจากส่งผลต่อคุณแม่แล้ว ก็ยัง ส่งผลให้ลูกเกิดปัญหาพัฒนาการช้าได้ด้วย จึงจำเป็นที่ คุณแม่หลังคลอดต้องได้รับการดูแลที่เหมาะสม 

ไม่ง่ายจะต้องเข้าใจคุณแม่มือใหม่หลังคลอดจิตระส่ำเดลินิวส์Medium shot woman with blanketภาพ : freepik

ปัญหาสุขภาพจิตใจหลังคลอดลูก นั้นสามารถ แบ่งเป็น 3 ชนิดกว้าง ๆ ได้แก่ ชนิดที่ 1 ภาวะอารมณ์เศร้าหลังคลอด พบราวร้อยละ 30-75 ของคุณแม่หลังคลอด จากการที่ฮอร์โมนเปลี่ยนแปลง รวมถึงอาจมีปัจจัยอื่น ๆ กระตุ้นด้วย เช่น พักผ่อนน้อย เครียดเลี้ยงลูก ปรับตัวกับความเป็นแม่ไม่ทัน วิตกกังวลสูง มีวุฒิภาวะทางอารมณ์ต่ำ โดยจะ หงุดหงิดง่าย ร้องไห้ง่าย เบื่ออาหารหรืออยากอาหารมากกว่าปกติ นอนไม่ค่อยหลับหรือนอนมากผิดปกติ ซึ่งอาการมักเริ่มเกิดหลังคลอดไม่กี่วัน จนถึงช่วงวันที่ 4-5 และมักจะหายไปเองภายในวันที่ 10 แต่ ถ้านานเกิน 2 สัปดาห์ควรได้รับการตรวจรักษา

ไม่ง่ายจะต้องเข้าใจคุณแม่มือใหม่หลังคลอดจิตระส่ำเดลินิวส์

ชนิดที่ 2 ภาวะซึมเศร้าหลังคลอด ชนิดนี้ ในไทยพบความชุกราวร้อยละ 9.5-25 อาการมักแสดงออกในช่วง  1 เดือนแรกหลังคลอด แต่บางรายก็อาจตั้งแต่ก่อนคลอด ซึ่งจะ ซึมเศร้า, เบื่อหน่าย, นอนไม่หลับ, อ่อนเพลีย, ปวดศีรษะ, หลงลืมง่าย, ย้ำคิดย้ำทำ, ไม่มีความรู้สึกทางเพศ ทั้งนี้ บางรายอาจมีความรู้สึกไม่ต้องการลูก ร่วมด้วย อาจ วิตกกังวลกลัวว่าตนเองจะเผลอทำร้ายลูก จนนำของมีคมไปซ่อน หรือมัก ควบคุมอารมณ์ไม่ได้เมื่อได้ยินเสียงลูกร้อง ไม่ยอมให้ลูกดูดนม ซึ่งบางรายอาจ คิดทำร้ายตัวเอง หรือคิดสั้น!! เพราะรู้สึกว่าไม่มีความสามารถที่จะเลี้ยงลูก คิดว่าเป็นแม่ที่ไม่ดี

ไม่ง่ายจะต้องเข้าใจคุณแม่มือใหม่หลังคลอดจิตระส่ำเดลินิวส์

อาการเหล่านี้มักเริ่มในช่วง 1 สัปดาห์หลังคลอด และอาจเป็นนานถึงราว 1 ปี ซึ่ง คุณแม่รายใดมีอารมณ์เหล่านี้ถึงขั้นรบกวนการเลี้ยงดูลูก หรือมีอาการนานเกิน 2 สัปดาห์ ควรเข้ารับคำแนะนำจากแพทย์ เพื่อให้ได้รับการรักษาที่ถูกต้องอย่างทันท่วงที ซึ่งหากปล่อยไว้จนอาการเรื้อรังรุนแรง อาจนำสู่ปัญหาสุขภาพจิตใจหลังคลอดอีกชนิดที่ยิ่งอันตราย!!

ไม่ง่ายจะต้องเข้าใจคุณแม่มือใหม่หลังคลอดจิตระส่ำเดลินิวส์

ชนิดที่ 3 โรคจิตหลังคลอด พบราวร้อยละ 0.1-0.2 เป็นชนิดของภาวะซึมเศร้าหลังคลอดที่ยิ่งรุนแรงมาก!! โดยมักมีอาการช่วง 2-3 วันแรกหลังคลอด จะสับสน หรือตื่นตระหนกเกือบตลอดเวลา จากนั้นอาการต่าง ๆ จะเกิดตามมารวดเร็ว จะ มีอารมณ์เปลี่ยนแปลงเร็ว มีพฤติกรรมวุ่นวาย มีความคิดหลงผิด เช่น หลงผิดว่ายังไม่ได้คลอดลูก ลูกตาย ลูกพิการ มีคนคิดปองร้ายลูก มีคนจะมาลักพาตัวลูก เป็นต้น รวมทั้งอาจ ประสาทหลอน เช่น หูแว่ว เห็นภาพหลอน ได้อีกด้วย ซึ่งอาการที่รุนแรงเหล่านี้ จำเป็นต้องได้รับการรักษาในโรงพยาบาลจากแพทย์และผู้เชี่ยวชาญ อย่างใกล้ชิด

ไม่ง่ายจะต้องเข้าใจคุณแม่มือใหม่หลังคลอดจิตระส่ำเดลินิวส์newborn baby sleeping in the embrace of the motherภาพ : freepik

ทั้งนี้ ข้อมูลจากรายงานวิจัยเกี่ยวกับคุณแม่หลังคลอดดังกล่าวข้างต้นยังระบุไว้อีกว่า แม้ยังไม่ทราบแน่ชัดถึงสาเหตุ’ภาวะซึมเศร้าหลังคลอด“ แต่ก็ทราบว่า อาจ ’มีปัจจัยต่าง ๆ เป็นตัวกระตุ้น“ ให้เกิดภาวะ เช่น บุคลิกภาพคุณแม่ ภาวะจิตสังคม และคุณแม่ประสบความตึงเครียดด้านต่าง ๆ ก่อนคลอด ขณะคลอด หลังคลอด ได้แก่ ความตึงเครียดทางสังคมและสิ่งแวดล้อม เช่น ฐานะเศรษฐกิจ ที่อาจทำให้คุณแม่วิตกกังวลการซื้อของใช้สำหรับทารก หรือคุณแม่ไม่ได้รับการเตรียมตัวก่อนคลอด ที่อาจจะทำให้เกิดความไม่แน่ใจว่าจะสามารถเลี้ยงดูลูกได้หรือไม่, ความตึงเครียดทางด้านร่างกาย จากความเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาขณะคลอด จากความเปลี่ยนแปลงของต่อมไร้ท่อและฮอร์โมนที่ลดลงหรือเพิ่มสูงขึ้นหลังคลอด

ไม่ง่ายจะต้องเข้าใจคุณแม่มือใหม่หลังคลอดจิตระส่ำเดลินิวส์

ความตึงเครียดทางจิตใจ ก็มีองค์ประกอบทางจิตใจหลายอย่างที่กระตุ้นการเกิดซึมเศร้าหลังคลอด เช่น มีประวัติเจ็บป่วย
ทางจิตใจ กังวลเรื่องรูปร่างหลังคลอด เป็นการตั้งครรภ์ที่ไม่พึงปรารถนาหรือไม่ได้วางแผนไว้ล่วงหน้า วิตกกังวลกลัวว่าลูกจะพิการ รวมถึง สับสนกับบทบาทการเป็นคุณแม่ วิตกต่อภาระหน้าที่การเลี้ยงดูลูกไม่ได้รับการเอาใจใส่จากคุณพ่อของลูก ถูกทอดทิ้งละเลย มีปัญหาเกี่ยวกับชีวิตสมรส กลัวคุณพ่อของลูกนอกใจ เหล่านี้ก็ “ปัจจัยกระตุ้นภาวะ”

ไม่ง่ายจะต้องเข้าใจคุณแม่มือใหม่หลังคลอดจิตระส่ำเดลินิวส์

  ’ซึมเศร้าหลังคลอด“ นี่ก็ ’ฉายภาพ“

ไม่ง่ายจะต้องเข้าใจคุณแม่มือใหม่หลังคลอดจิตระส่ำเดลินิวส์

  ’คุณแม่มือใหม่“ นั้น ’มิใช่ง่าย ๆ“

ไม่ง่ายจะต้องเข้าใจคุณแม่มือใหม่หลังคลอดจิตระส่ำเดลินิวส์

  โดยที่ ’คนรอบตัวจะต้องเข้าใจ!!“.

ไม่ง่ายจะต้องเข้าใจคุณแม่มือใหม่หลังคลอดจิตระส่ำเดลินิวส์
本文地址:http://realhistorychan.com/html/43d599932.html
版权声明

本文仅代表作者观点,不代表本站立场。
本文系作者授权发表,未经许可,不得转载。

热门文章

全站热门

การ์ตูน โดย ขวด วันที่ 12 กันยายน 2567 | เดลินิวส์

PEA แนะนำการใช้ไฟฟ้า ในกรณีที่มีน้ำท่วมหรือน้ำท่วมขัง‏ | เดลินิวส์

บุกจับ! ร.ต.ต.คอมมานโดกำมะลอ แฟนสาวช็อก เสียท่าโดนแหกตาเชื่อเป็นตร.จริง | เดลินิวส์

เงินบาทแข็งค่า 36.03 บาท จับตาราคาทอง เลือกตั้งปธน.สหรัฐ | เดลินิวส์

“สนามบินแม่ฟ้าหลวง เชียงราย” เปิดบริการปกติ! เตือนเผื่อเวลาเดินทาง 5-6 ชั่วโมง | เดลินิวส์

สังคมโลก : ลมตะวันออก | เดลินิวส์

สิงห์ เอสเตท ชวนมาสัมผัสคอนโดมิเนียมระดับพรีเมียม ลักช์ชูรี “THE EXTRO Phayathai-Rangnam” | เดลินิวส์

เช็กดวงประจำวันที่ 25 ก.ค. 67 ราศีที่ดาวศรีสถิต "กรกฎ" ราศีที่ดาวกาลีสถิต "กุมภ์" | เดลินิวส์

友情链接