【wmbet444.com】พุทธ-พราหมณ์ นัยและความหมายในงาน เรือพระราชพิธี – THE STANDARD

สารานุกรม 2024-09-19 09:07:54 18263

เมื่อวันที่ 2 กรกฎาคมที่ผ่านมา ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เรือพระราชพิธี ถนนอรุณอมรินทร์ เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร มีพิธีบวงสรวงพระภูมิเจ้าที่ พิธีสงฆ์ และเซ่นไหว้แม่ย่านางเรือพระราชพิธี เพื่อเตรียมเรือพระราชพิธีที่จะเข้าร่วมในพระราชพิธีทรงบำเพ็ญพระราชกุศลถวายผ้าพระกฐินโดยขบวนพยุหยาตราทางชลมารค เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ ณ วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร ในวันที่ 27 ตุลาคม 2567 

พุทธพราหมณ์นัยและความหมายในงานเรือพระราชพิธี

 

พุทธพราหมณ์นัยและความหมายในงานเรือพระราชพิธี

เรือพระราชพิธีเป็นประเพณีที่เกี่ยวพันกับสถาบันพระมหากษัตริย์ สามารถสืบย้อนได้ถึงสมัยอยุธยา ซึ่งมักเป็นองค์ประกอบสำคัญในเกือบทุกรัชสมัยจนถึงปัจจุบัน

พุทธพราหมณ์นัยและความหมายในงานเรือพระราชพิธี

 

พุทธพราหมณ์นัยและความหมายในงานเรือพระราชพิธี

อย่างไรก็ตาม ประเพณีโบราณนี้มีองค์ประกอบที่มีความเชื่อมโยงกับความเป็นสมมติเทพแบบพุทธ-พราหมณ์ แต่ถูกพัฒนาให้กลายเป็นของไทย พัฒนาการดังกล่าวเกิดขึ้นได้อย่างไร และมีนัยสำคัญอย่างไรกับสถาบันพระมหากษัตริย์

พุทธพราหมณ์นัยและความหมายในงานเรือพระราชพิธี

 

พุทธพราหมณ์นัยและความหมายในงานเรือพระราชพิธี

ยอร์ช เซเดส์ นักวิชาการชาวฝรั่งเศสที่มีชื่อเสียงในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ด้านประวัติศาสตร์และโบราณคดีในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้อธิบายไว้ว่า การกำเนิดของอารยธรรมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เกิดจากการที่พราหมณ์จากอินเดียสามารถควบคุมชนชั้นปกครองพื้นเมืองในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้ โดยผ่านการแต่งงานกับผู้นำท้องถิ่นและการแต่งงานกับชนชั้นนำอื่นๆ เพื่อที่จะมีความชอบธรรมในการปกครองตามคติความเชื่อแบบอินเดีย จนทำให้สังคมของชาวพื้นเมืองกลายเป็นแบบอินเดียโดยปริยาย 

พุทธพราหมณ์นัยและความหมายในงานเรือพระราชพิธี

 

พุทธพราหมณ์นัยและความหมายในงานเรือพระราชพิธี

ตรงกันข้ามกับ วอลเตอร์ส แห่งมหาวิทยาลัยคอร์เนล สหรัฐอเมริกา กลับเล็งเห็นว่า วัฒนธรรมและคติความเชื่อแบบอินเดียเกิดจากนักเดินเรือชาวอินเดีย มากกว่าการถูกครอบงำจากชนชั้นพราหมณ์ที่เข้ามามีบทบาทในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 

พุทธพราหมณ์นัยและความหมายในงานเรือพระราชพิธี

 

พุทธพราหมณ์นัยและความหมายในงานเรือพระราชพิธี

ประการแรกอารยธรรมอินเดียมีความก้าวหน้า ไม่ว่าจะในเรื่องของเทคโนโลยีของการเดินเรือ วัฒนธรรมเชิงวัตถุ รวมไปถึงระบอบการปกครองตามคติความเชื่อแบบอินเดีย ทำให้รัฐของตนได้เปรียบเหนือรัฐคู่แข่งใกล้เคียง 

พุทธพราหมณ์นัยและความหมายในงานเรือพระราชพิธี

 

พุทธพราหมณ์นัยและความหมายในงานเรือพระราชพิธี

ประการที่ 2 ภารตภิวัตน์ (Indianization) ยังส่งเสริมการค้าระหว่างเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และชมพูทวีป เช่น ในเรื่องของการติดต่อสื่อสาร โดยการริเริ่มการใช้ตัวอักษรปัลลวะในการเขียนในจารึกหรือพิธีกรรมทำพิธีศพที่มีความเกี่ยวข้องกับเทพเจ้าฮินดู 

พุทธพราหมณ์นัยและความหมายในงานเรือพระราชพิธี

 

พุทธพราหมณ์นัยและความหมายในงานเรือพระราชพิธี

นอกจากนี้แนวคิดแบบศาสนาพุทธแพร่จากอินเดียเข้ามาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เริ่มในสมัยพระเจ้าอโศกมหาราชแห่งอินเดียได้ขยายดินแดนโดยใช้พุทธศาสนาซึ่งเกิดขึ้นราวคริสต์ศตวรรษที่ 1 ความรู้รวมถึงคำสอนในพุทธศาสนาด้วย ในขณะที่รัฐฟูนันเป็นต้นกำเนิดของแนวคิดเทวราชาที่ส่งผลต่อการปกครองของอยุธยา

พุทธพราหมณ์นัยและความหมายในงานเรือพระราชพิธี

 

พุทธพราหมณ์นัยและความหมายในงานเรือพระราชพิธี

พุทธพราหมณ์นัยและความหมายในงานเรือพระราชพิธี

แผนที่การแพร่กระจายของวัฒนธรรมอินเดียในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 

พุทธพราหมณ์นัยและความหมายในงานเรือพระราชพิธี

ภาพ: Gunawan Kartapranata

พุทธพราหมณ์นัยและความหมายในงานเรือพระราชพิธี

 

พุทธพราหมณ์นัยและความหมายในงานเรือพระราชพิธี

งานเรือพระราชพิธีนี้ก็สะท้อนคติความเชื่อแบบพราหมณ์และพุทธได้อย่างน่าสนใจ กล่าวคือคติความเชื่อการแสดงออกทางอำนาจแบบอินเดียมากมาย ดังที่ปรากฏให้เห็นที่รูปแบบลักษณะทางศิลปะและความหมายของเรือพระราชพิธี โดยเฉพาะโขนเรือ 

พุทธพราหมณ์นัยและความหมายในงานเรือพระราชพิธี

 

พุทธพราหมณ์นัยและความหมายในงานเรือพระราชพิธี

สำหรับโขนเรือพระราชพิธีมีความสอดคล้องกับคติเรื่องโลกและจักรวาลที่รับอิทธิพลมาจากศาสนาพราหมณ์-ฮินดู โดยที่ ‘ครุฑ’ และ ‘นาค’ ซึ่งเป็นสัญลักษณ์แทนเทพเจ้า

พุทธพราหมณ์นัยและความหมายในงานเรือพระราชพิธี

 

พุทธพราหมณ์นัยและความหมายในงานเรือพระราชพิธี

คติความเชื่อดังกล่าวถูกนำมาสร้างเป็นโขนเรือพระราชพิธี เพื่อใช้เป็นเรือที่ประทับของพระมหากษัตริย์ ตั้งแต่สมัยอยุธยา ครุฑถูกนำมาใช้เป็นสัญลักษณ์ที่มีความเกี่ยวข้องกับพระมหากษัตริย์ตามคัมภีร์ในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ซึ่งถือว่าเป็นเทพพาหนะของพระวิษณุหรือพระนารายณ์ และไทยก็รับเอาคติความเชื่อนี้มาใช้เช่นกันตั้งแต่สมัยอยุธยา 

พุทธพราหมณ์นัยและความหมายในงานเรือพระราชพิธี

 

พุทธพราหมณ์นัยและความหมายในงานเรือพระราชพิธี

พระมหากษัตริย์เป็นดั่ง ‘พระนารายณ์’ อวตารมาเป็น ‘พระราม’ ผู้ครองเมืองอโยธยา และปราบทุกข์เข็ญในคัมภีร์มหากาพย์รามายณะตามคติเทวราชา ครุฑจึงมีฐานะสัญลักษณ์แห่งพระนารายณ์ จึงถูกนำมาใช้เป็นสัญลักษณ์แทนองค์พระมหากษัตริย์แห่งอยุธยา ซึ่งปรากฏในรูปเชิงสัญลักษณ์ต่างๆ เช่น ในพระราชลัญจกร ธง และโขนเรือพระที่นั่งรูปครุฑ 

พุทธพราหมณ์นัยและความหมายในงานเรือพระราชพิธี

 

พุทธพราหมณ์นัยและความหมายในงานเรือพระราชพิธี

นอกจากนี้พญานาค ตามคติของศาสนาพราหมณ์-ฮินดูปรากฏในคัมภีร์ปุราณะต่างๆ หลายคัมภีร์ เช่น คัมภีร์ภาควัตปุราณะและคัมภีร์วิษณุปุราณะ ได้กล่าวถึงเรื่องราวของพญานาคไว้ว่า เป็นผู้เป็นใหญ่เหนือบาดาล ทั้งเป็นบัลลังก์ที่บรรทมของพระนารายณ์ในระหว่างการสร้างโลก อีกทั้งเป็นบัลลังก์ที่ประทับของพระนารายณ์กลางทะเลน้ำนม หรือเกษียรสมุทร 

พุทธพราหมณ์นัยและความหมายในงานเรือพระราชพิธี

 

พุทธพราหมณ์นัยและความหมายในงานเรือพระราชพิธี

นอกจากครุฑและนาคที่เป็นสัญลักษณ์ที่เกี่ยวกับพระมหากษัตริย์ในริ้วขบวนเรือ ก็ยังมีเรือพระราชพิธีลำอื่นๆ ที่จะทำหน้าที่เป็นเรือพิธีคู่ชัก หรือเรือสำหรับจูงเรือพระที่นั่ง จะมีการแกะสลักโขนเรือรูปสัตว์ที่ไม่ใช่พาหนะสำหรับเทพเจ้า อย่างเช่น ตัวละครในรามายณะ ได้แก่ ลิง อันเป็นองครักษ์และช่วยงานราชการให้กับพระรามผู้เป็นอวตารของพระนารายณ์ตามมหากาพย์รามยณะ ซึ่งบุคคลที่นั่งอยู่บนเรือดังกล่าวคือข้าราชการและข้าราชบริพารระดับสูง เป็นการส่งสถานะของความเป็นเทพเจ้าอวตาร 

พุทธพราหมณ์นัยและความหมายในงานเรือพระราชพิธี

 

พุทธพราหมณ์นัยและความหมายในงานเรือพระราชพิธี

หากวิเคราะห์แล้ว เรือพระราชพิธีเป็นการแสดงออกทางอำนาจโดยใช้สัญญะจากแนวคิดพราหมณ์-ฮินดูจากอินเดียอย่างชัดเจน 

พุทธพราหมณ์นัยและความหมายในงานเรือพระราชพิธี

 

พุทธพราหมณ์นัยและความหมายในงานเรือพระราชพิธี

เรือพระราชพิธี

พุทธพราหมณ์นัยและความหมายในงานเรือพระราชพิธี

เรือพระที่นั่งนารายณ์ทรงสุบรรณ รัชกาลที่ 9 

พุทธพราหมณ์นัยและความหมายในงานเรือพระราชพิธี

ภาพ: พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เรือพระราชพิธี

พุทธพราหมณ์นัยและความหมายในงานเรือพระราชพิธี

 

พุทธพราหมณ์นัยและความหมายในงานเรือพระราชพิธี

พุทธพราหมณ์นัยและความหมายในงานเรือพระราชพิธี

เรือกระบี่ปราบเมืองมารและเรือกระบี่ราญรอนราพณ์

พุทธพราหมณ์นัยและความหมายในงานเรือพระราชพิธี

ภาพ: พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เรือพระราชพิธี

พุทธพราหมณ์นัยและความหมายในงานเรือพระราชพิธี

 

พุทธพราหมณ์นัยและความหมายในงานเรือพระราชพิธี

ในอีกด้านหนึ่ง ประเพณีการทอดกฐินเป็นศัพท์ในพระวินัยปิฎกเถรวาท เป็นชื่อเรียกผ้าไตรจีวรที่พระพุทธเจ้าทรงอนุญาตให้ภิกษุผู้อยู่จำพรรษาครบ 3 เดือนแล้วสามารถรับมานุ่งห่มได้ นับเป็นประเพณีที่สำคัญของพุทธศาสนิกชนอย่างหนึ่ง นิยมทำกันตั้งแต่วันแรมค่ำเดือนสิบเอ็ดไปจนถึงกลางเดือนสิบสอง ซึ่งมีความเกี่ยวข้องอย่างยิ่งกับแนวคิดพุทธราชาตามพุทธปรัชญาเถรวาท ผู้ปกครองแบบธรรมราชาต้องเป็นผู้มีคุณธรรมประจำตัวและมีหน้าที่ทางศีลธรรมต่อสังคม ปกครองบ้านเมืองโดยหลักธรรมาธิปไตย และมีเป้าหมายเพื่อให้ทุกคนเป็นคนดี มีความสุข ในธรรมรัฐ พระพุทธศาสนาเป็นหลักในการปกครองการบริหารที่อำนวยประโยชน์ให้แก่ราษฎรในรัฐ เรียกว่า ‘ทศพิธราชธรรม’ 

พุทธพราหมณ์นัยและความหมายในงานเรือพระราชพิธี

 

พุทธพราหมณ์นัยและความหมายในงานเรือพระราชพิธี

พระมหากษัตริย์ไทยทรงอุทิศพระองค์เพื่อพระพุทธศาสนา มีหลักธรรมเป็นหลักในการบริหารชาติบ้านเมืองประหนึ่งว่าเป็นธรรมนูญการปกครองชาติไทย ศาสนาพุทธจึงกลายเป็นสื่อกลาง การสนับสนุนศาสนาพุทธด้วยวิธีนี้นอกจากเป็นการยืนยันความเป็นธรรมราชาแล้ว ก็ยังเป็นสามารถใกล้ชิดกับประชาชนมากขึ้น โดยการใช้ประเพณีทอดกฐินเป็นสิ่งตอกย้ำของการเป็นธรรมราชา

พุทธพราหมณ์นัยและความหมายในงานเรือพระราชพิธี

 

พุทธพราหมณ์นัยและความหมายในงานเรือพระราชพิธี

เรือพระราชพิธี

พุทธพราหมณ์นัยและความหมายในงานเรือพระราชพิธี

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี

พุทธพราหมณ์นัยและความหมายในงานเรือพระราชพิธี

เสด็จฯ ไปในการพระราชพิธีทรงบำเพ็ญพระราชกุศลถวายผ้าพระกฐิน 

พุทธพราหมณ์นัยและความหมายในงานเรือพระราชพิธี

ณ วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามและวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม

พุทธพราหมณ์นัยและความหมายในงานเรือพระราชพิธี

เมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน 2566 

พุทธพราหมณ์นัยและความหมายในงานเรือพระราชพิธี

ภาพ: สำนักพระราชวัง

พุทธพราหมณ์นัยและความหมายในงานเรือพระราชพิธี

 

พุทธพราหมณ์นัยและความหมายในงานเรือพระราชพิธี

โดยสรุปแล้ว งานเรือพระราชพิธีสะท้อนแนวคิดพุทธและพราหมณ์ สะท้อนความสัมพันธ์ระหว่างประชาชนและพระมหากษัตริย์ที่แตกต่างกัน โดยที่ฮินดูจะเน้นถึงความยิ่งใหญ่ของผู้นำ เปรียบดั่งเทพเจ้าจากการที่เราได้เห็นริ้วขบวนเรือ ในขณะที่ศาสนาพุทธที่ได้ยกตัวอย่างข้างต้น มีหลักการปกครองที่ชัดเจนและมีความใกล้ชิดกับประชาชนมากกว่าที่จะแบ่งแยกมนุษย์ออกจากส่วนของผู้ปกครอง ตัวอย่างเช่น ฮินดูจะมีชนชั้นพราหมณ์ที่ทำหน้าที่เป็นตัวกลางในการสื่อสารกับเทพเจ้า หรือเทวสถานที่ถูกออกแบบให้เป็นพื้นที่ศักดิ์สำหรับแค่กลุ่มผู้ปกครองเท่านั้น 

พุทธพราหมณ์นัยและความหมายในงานเรือพระราชพิธี

 

พุทธพราหมณ์นัยและความหมายในงานเรือพระราชพิธี

ส่วนพุทธศาสนาเปิดพื้นที่ให้กับทุกชนชั้นในการเข้ามามีส่วนร่วม เรียกได้ว่าเป็นศาสนาของมวลชน จะมีการอุปถัมภ์พุทธศาสนาจากทุกชนชั้นไม่ว่าจะเป็นพระมหากษัตริย์ ขุนนาง หรือแม้กระทั่งพ่อค้า ศาสนาพุทธจึงได้รับความนิยมและเข้าถึงทุกภาคส่วน ซึ่งแตกต่างจากศาสนาฮินดูที่ถูกจำกัดเฉพาะแค่กลุ่มใดกลุ่มหนึ่งเท่านั้น

พุทธพราหมณ์นัยและความหมายในงานเรือพระราชพิธี

 

พุทธพราหมณ์นัยและความหมายในงานเรือพระราชพิธี

ส่วนภาพลักษณ์ของพระมหากษัตริย์จะใช้แนวคิดเทวราชาแสดงสถานะทางสังคมมากกว่า รัฐโบราณเหล่านี้ส่งอิทธิพลต่อการปกครองของรัฐโบราณ โดยเฉพาะที่ยังปรากฏหลักฐานเชิงประจักษ์อยู่ในพิธีกรรมของประเทศไทยในปัจจุบัน 

พุทธพราหมณ์นัยและความหมายในงานเรือพระราชพิธี

 

พุทธพราหมณ์นัยและความหมายในงานเรือพระราชพิธี

อ้างอิง: 

พุทธพราหมณ์นัยและความหมายในงานเรือพระราชพิธีHall, K. R. 1984. Small Asian Nations in the Shadow of the Large: Early Asian History through the Eyes of Southeast Asia.Journal of The Economic and Social History of The OrientCoedès, G., Cowing, S. B., Vella, W. F.1996. The Indianized States of Southeast Asia. Wolters, O. W. 2005. History, culture, and region in Southeast Asian perspectives. ACLS History E-Book Project.ศานติ ภักดีคำ. 2562.พระเสด็จโดยแดนชล เรือพระราชพิธีและขบวนพยุหยาตราทางชลมารค. สำนักพิมพ์: มติชนกชภพ กรเพชรรัตน์.2565.คติความเชื่อแบบอินเดียโบราณกับอำนาจของผู้นำในรัฐไทยในยุคร่วมสมัย Indic ideology and expression of the power in contemporary Thailand.เอเชียปริทัศย์.ปีที่43.ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม)TAGS: ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
本文地址:http://realhistorychan.com/html/31c599941.html
版权声明

本文仅代表作者观点,不代表本站立场。
本文系作者授权发表,未经许可,不得转载。

热门文章

全站热门

เช็กดวงประจำวันที่ 17 ก.ย. 67 ราศีที่ดาวศรีสถิต "พฤษภ" ราศีที่ดาวกาลีสถิต "กุมภ์" | เดลินิวส์

'บรรจง'ยอมรับสุดทางแค่นี้จริงๆ ขอชกอีกรายการเดียวจะแขวนนวม | เดลินิวส์

เปิดราคาพระในคอ "เจ้าวิว" ของดีพิมพ์นิยม ที่พึ่งทางใจ ในโอลิมปิกเกมส์ 2024 | เดลินิวส์

เข้าเดือนสิงหา กับความร้อนฉ่าทางการเมือง | เดลินิวส์

'หนุ่ม กรรชัย'โอนเงียบช่วยน้ำท่วม 1 ล้าน 'บุ๋ม ปนัดดา' เผยน้ำตาจะไหล! | เดลินิวส์

ยอดทะลุไวเกินคาด ลงทะเบียน "ดิจิทัลวอลเล็ต" กระแสตอบรับเยี่ยม | เดลินิวส์

กบข. ธรรมาภิบาลแกร่ง ผ่านประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส (ITA) ที่ 94.05 คะแนน | เดลินิวส์

Redirecting...

热门文章

友情链接