【เครดิตฟรี 100 ไม่ต้องฝาก ไม่ต้องแชร์ แค่สมัคร 2021】เทคโนโลยี ‘ดักจับคาร์บอน’ ความหวังกู้โลก! ยํ้าใครไม่ปรับตัวอยู่ยากแน่ | เดลินิวส์
ภายในงานสัปดาห์แห่งความยั่งยืน SETA 2024 และ SustainAsia Week 2024 จัดขึ้นภายใต้แนวคิด “Low Carbon Sustainable ASEAN Economy” ได้มีการเสวนาให้ความรู้ถึงผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่ทั่วโลกกำลังเผชิญอยู่ ณ ขณะนี้ รวมถึงการแชร์ความก้าวหน้าของนวัตกรรมและเทคโนโลยี พลังงานสะอาดที่จะเข้ามาช่วยกอบกู้โลก
เทคโนโลยีดักจับคาร์บอนความหวังกู้โลกยํ้าใครไม่ปรับตัวอยู่ยากแน่เดลินิวส์กทม.ปรับเส้นเลือดฝอยในเมืองใหญ่
เทคโนโลยีดักจับคาร์บอนความหวังกู้โลกยํ้าใครไม่ปรับตัวอยู่ยากแน่เดลินิวส์“พรพรหม ณ.ส.วิกิตเศรษฐ์” ที่ปรึกษาของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร และผู้บริหารความยั่งยืนกรุงเทพมหานคร ฉายภาพถึงนโยบาย และการดำเนินการด้านโครงการสร้างพื้นฐานสีเขียวกรุงเทพมหานครว่า การปล่อยก๊าซมลพิษ หรือการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ของกรุงเทพมหานคร มาจาก 4 ส่วนหลัก ๆ อย่างแรกคือเรื่องพลังงาน ซึ่งมากที่สุด ปล่อยกว่า 60% อีก 30% มาจากขนส่ง ที่เหลือเป็นเรื่องของขยะและนํ้าเสีย โดยเราก็มีมาตรการจำกัด 4 ด้าน โดยโฟกัสที่พลังงานและขนส่ง วิสัยทัศน์ของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร มีแนวทางการบริหารเมืองและกรุงเทพมหานคร ซึ่งการบริหารเมืองเปรียบเสมือนร่างกาย ที่มีส่วนประกอบของเส้นเลือดหลักและเส้นเลือดฝอย
เทคโนโลยีดักจับคาร์บอนความหวังกู้โลกยํ้าใครไม่ปรับตัวอยู่ยากแน่เดลินิวส์ถ้าดูเรื่องการขนส่งเส้นเลือดของกรุงเทพนั้น เรามีระบบขนส่งที่เป็นรถไฟฟ้าทั้งบนดินใต้ดินหลากหลายสายภายในปี 2028 คาดว่าเราจะมีรถไฟฟ้า 11 สาย รวมกว่า 300 สถานี ซึ่งมีการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) ดูแลเรื่องนี้ ส่วนหน้าที่ของกรุงเทพมหานคร คือการทำให้คุณภาพชีวิตคนดีขึ้น เรามีบทบาทในการปรับผังเมืองที่เป็นเส้นเลือดฝอย ไม่ว่าจะเป็น ฟุตปาธ ทางเดินเท้า หรือเลนจักรยาน เพื่ออำนวยความสะดวกประชาชน ก็จะมีการปรับทางเดินที่สามารถหลบแดดหลบฝนได้
เทคโนโลยีดักจับคาร์บอนความหวังกู้โลกยํ้าใครไม่ปรับตัวอยู่ยากแน่เดลินิวส์นอกจากนั้นยังมีนโยบายเกี่ยวกับการพัฒนาพื้นที่สีเขียว ป่าในเมือง และ “สวน 15 นาที” ในชุมชนต่าง ๆ รวมถึงเรื่องของการสนับสนุนด้านพลังงานแสงอาทิตย์ ติดตั้งโซลาร์เซลล์ตามสำนักงานเขต โรงเรียน ฯลฯ และพลังงานสะอาดที่เกี่ยวข้องกับขยะ ซึ่งเรามีเตาเผา 500 ตันต่อวัน อีก 2 ปี (2569) สร้างเสร็จจะมีเตาเผา 2,500 ตันต่อวัน รวมทั้งหมดเป็นพลังงานสะอาด 70 เมกะวัตต์ และพิจารณาทำอีกโรงคือ 1,000 ตันต่อวัน เมื่อก่อนฝังกลบค่อนข้างเยอะเกินกว่า 50% ถ้าเตาเผาเปิดแล้ว ปี 2569 ก็จะลดการฝังกลบเหลือเพียง 20%
เทคโนโลยีดักจับคาร์บอนความหวังกู้โลกยํ้าใครไม่ปรับตัวอยู่ยากแน่เดลินิวส์โลกร้อนทำคนย้ายถิ่นฐาน
เทคโนโลยีดักจับคาร์บอนความหวังกู้โลกยํ้าใครไม่ปรับตัวอยู่ยากแน่เดลินิวส์“อาทิตย์ กริชพิพรรธ” CEO Founder บริษัท เอ แอ๊ดไวซอรี่ จำกัด กล่าวว่า ได้กล่าวถึงการเตรียมตัวและการปรับตัวของภาคธุรกิจ โดยระบุว่าการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ หรือโลกร้อน มาจากการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ตอนนี้เมืองไทยเรามีประชากรมากกว่า 60 ล้านคนเมื่อเทียบกับสัดส่วนคนทั้งโลก ประเทศไทยมีการปล่อยก๊าซแค่ 1% ดังนั้น ต่อให้เราพยายามที่จะลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ลงครึ่งหนึ่ง แต่เมื่อเทียบกับสัดส่วนทั้งโลกไทยมีส่วนลดได้ 0.5% ซึ่งจำนวนนี้แทบไม่มีผลอะไร แต่ก็ยังดีกว่าไม่ได้ทำ แต่ทั้งนี้เรื่องโลกร้อนไม่ใช่แค่การร่วมกันลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเพียงอย่างเดียว คนทั้งโลกเสี่ยงที่จะเผชิญปัญหาสังคมด้านอื่น ๆ ตลอดจนกระทบเศรษฐกิจ เช่น ความยากจน ความขัดแย้ง สงคราม ความตึงเครียดในองค์กร การขาดแคลนทรัพยากร ขาดแคลนอาหาร เกิดโรคภัยไข้เจ็บ
เทคโนโลยีดักจับคาร์บอนความหวังกู้โลกยํ้าใครไม่ปรับตัวอยู่ยากแน่เดลินิวส์“โลกอาจเผชิญการแย่งชิงทรัพยากรบนแผ่นดิน ทั้งการหาดินเพาะปลูก นํ้าสำหรับใช้เพื่อทำการเกษตร ผลผลิตการเกษตร
น้อยลง สัตว์น้อยลงเรื่อย ๆ และที่สำคัญอาจนำมาสู่คนจำนวนไม่น้อยอยู่ในพื้นที่เดิมไม่ได้ เกิดการเคลื่อนย้ายอพยพออกนอกประเทศของตนเอง เพื่อชีวิตที่ดีกว่าและการอพยพของคนจะเกิดขึ้นทั่วโลก”
ธุรกิจต้องประเมินความเสี่ยงเรื่องโลกร้อน
เทคโนโลยีดักจับคาร์บอนความหวังกู้โลกยํ้าใครไม่ปรับตัวอยู่ยากแน่เดลินิวส์ขณะที่ “วิวัฒน์ โฆษิตสกุล” กรรมการผู้จัดการ บริษัท แอดวานซ์ เอ็นเนอร์ยี่ พลัส กล่าวว่า ตอนนี้ถ้าดูในเรื่องของการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของไทย มาจากภาคพลังงาน ขนส่งเป็นหลัก เป็นเรื่องจริงแต่ภาคเกษตรก็ปล่อยก๊าซเรือนกระจกอย่างมีนัยเหมือนกัน คิดเป็นประมาณ 10% โดยที่ครึ่งนึงมาจากการปลูกข้าว ในขณะที่ตอนนี้กระแสผู้บริโภคใส่ใจเรื่องโลกร้อนมากขึ้น แม้ว่าข้าวไทยจะอร่อย แต่ถ้าไม่รักษ์โลก อาจจะเกิดการต่อรองราคา ดังนั้นจึงเป็นความกดดันที่เกษตรกรต้องปรับวิถีการเพาะปลูก ซึ่งตอนนี้รัฐ-เอกชน ก็มีแนวทางต่าง ๆ ออกมาเกี่ยวกับการปลูกข้าวลดโลกร้อน
เทคโนโลยีดักจับคาร์บอนความหวังกู้โลกยํ้าใครไม่ปรับตัวอยู่ยากแน่เดลินิวส์“ใครทำตัว High Carbon จะอยู่ยาก ถ้าเป็นภาคธุรกิจไม่มีคนอยากทำงานด้วย หนึ่งในนั้นคือธนาคาร ที่ต้องปล่อยกู้ดังนั้นธุรกิจต้องรายงานการปล่อยคาร์บอนไปจนถึงซัพพลายเชน หากธนาคารจำเป็นต้องปล่อยกู้กับธุรกิจปล่อยคาร์บอนสูง อาจจะ
ใช้คำว่า ขอดูแลพิเศษ หรือชาร์จดอกเบี้ยแพงขึ้น ด้วยการช่วยหามาตรการในการกำจัด คาร์บอน”
ทำธุรกิจต้องศึกษากติกาโลก
เทคโนโลยีดักจับคาร์บอนความหวังกู้โลกยํ้าใครไม่ปรับตัวอยู่ยากแน่เดลินิวส์อย่างไรก็ตาม คุณวิวัฒน์ กล่าวอีกว่า สิ่งที่ธุรกิจต้องเริ่มทำคือจัดลำดับความสำคัญ เริ่มจากสำรวจตนเองก่อนว่าปล่อยคาร์บอนมากน้อยแค่ไหน ส่วนไหนปล่อยปริมาณมาก เพราะในอนาคตเราจะถูกบังคับให้ปล่อยคาร์บอนเป็นศูนย์แน่นอน จากที่ใช้เชื้อเพลิง ก็ต้องเปลี่ยนไปใช้ EV ให้ได้ และที่สำคัญคือ สโคป 3 จะถูกถามถึงการปล่อยคาร์บอนในองค์กร (Carbon Footprint for Organization :
CFO) และการประเมินคาร์บอนฟุตพรินต์ของผลิตภัณฑ์ (Carbon Footprint of Product: CFP) ในอนาคต ต่อไปนี้ลูกค้าบริษัทใหญ่จากเดิมเทียบคุณภาพการใช้งาน ราคา แต่จะถามค่า CFP ฝ่ายจัดซื้อก็จะเลือกสินค้าที่ค่า CFP ตํ่า เป็นต้น
“เราต้องศึกษากติกาโลก ตอนนี้สหภาพยุโรปมีมาตรการ CBAM สหรัฐอเมริกามีมาตรการ CCA เกี่ยวข้องกับการส่งออกสินค้า และมีรายงานว่าจีน ญี่ปุ่นก็กำลังจะมีมาตรการลักษณะนี้ออกมาเช่นกัน ดังนั้นขั้นแรก ก็ต้องดูกฎหมายคู่ค้าด้วย”
เทคโนโลยีดักจับคาร์บอนความหวังกู้โลกยํ้าใครไม่ปรับตัวอยู่ยากแน่เดลินิวส์เทคโนโลยีดักจับคาร์บอนทางรอดใหม่
เทคโนโลยีดักจับคาร์บอนความหวังกู้โลกยํ้าใครไม่ปรับตัวอยู่ยากแน่เดลินิวส์ไม่เพียงเท่านี้ ภายในฟอรั่มยังได้มีการเสวนาถึงเทคโนโลยีพลังงานสะอาด ที่จะนำประเทศไปสู่เป้าหมาย Net Zero โดย “บัญชา ยาทิพย์” ที่ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญด้านพลังงาน บมจ.กันกุลเอ็นจิเนียริ่งจำกัด (มหาชน) และ “ธีรศิลป์ ชมแก้ว” ฝ่ายพัฒนาธุรกิจ บมจ. ไออาร์พีซี กล่าวว่า ตอนนี้พลังงานสะอาดที่เข้ามามีเรื่องของไฮโดรเจน ไม่เพียงเท่านั้นยังมีเทคโนโลยีการดักจับและการจัดเก็บคาร์บอน Carbon Capture and Storage หรือ CCS ที่เป็นความหวังของโลก ซึ่งจะต้องมีการพัฒนาใช้เทคโนโลยีต่าง ๆ รวมถึงวางแผน ศึกษาการดักจับ และการขนส่งคาร์บอน รวมถึงหาพื้นที่ที่เหมาะสมในการกักเก็บส่งไปยังหลุมขุดเจาะ ดังนั้นจำเป็นต้องได้รับความช่วยเหลือ ผลักดันจากหลาย ๆ ภาคส่วน ต้องสนับสนุนกัน เนื่องจากเงินลงทุนในเรื่อง CCS ค่อนข้างสูง หรือประมาณ 1,000-2,000 ดอลลาร์สหรัฐ ตลอดจนเรื่องกฎหมาย การวางท่อ ก็มีส่วนเกี่ยวข้อง ฯลฯ.
เทคโนโลยีดักจับคาร์บอนความหวังกู้โลกยํ้าใครไม่ปรับตัวอยู่ยากแน่เดลินิวส์本文地址:http://realhistorychan.com/html/22c599961.html
版权声明
本文仅代表作者观点,不代表本站立场。
本文系作者授权发表,未经许可,不得转载。