【เกมป๊อกเด้งออนไลน์】‘ยิ่งจับยิ่งผุด’มีปัจจัย ‘ตลาดยาเสพติด’ ปราบ..ก็‘ยิ่งเฟื่องฟู!!’ | เดลินิวส์
ทั้งนี้ ด้วยภาระที่หนักอึ้งในการดูแลคนเป็นทาสยา ก็จึงเกิด “ปรากฏการณ์สะเทือนใจ” หรือเกิด “ภาพอันน่าสลดใจ” ที่พ่อแม่-ครอบครัว “แจ้งจับ” หรือ “กักขัง” ลูก-ญาติที่เป็นทาสยา เพราะ “คุมไม่ไหว” หรือเพื่อ “ป้องกันเหตุร้าย” จากกรณี “คลั่งยาอาละวาด” ที่ในไทยเกิดต่อเนื่อง ดังที่ “ทีมสกู๊ปเดลินิวส์” ชี้ไว้ว่ากรณีนี้เป็น “ระเบิดเวลาที่บึ้มแล้ว”และ “บึ้มต่อเนื่องเป็นลูกโซ่” อีกต่างหาก ท่ามกลางความฉงนของสังคมว่า“สถานการณ์ยาเสพติดในไทยไฉนไม่บรรเทาเบาบางลงสักที??”
ยิ่งจับยิ่งผุดมีปัจจัยตลาดยาเสพติดปราบก็ยิ่งเฟื่องฟูเดลินิวส์ทั้ง ๆ ที่ “มีการจับกุมแบบรายวัน”
ยิ่งจับยิ่งผุดมีปัจจัยตลาดยาเสพติดปราบก็ยิ่งเฟื่องฟูเดลินิวส์แต่ทว่า “ปัญหานี้ไม่เพียงไม่ลดลง”
ยิ่งจับยิ่งผุดมีปัจจัยตลาดยาเสพติดปราบก็ยิ่งเฟื่องฟูเดลินิวส์ยัง “ดูเหมือนจะฟูเฟื่องได้น่าตกใจ!!”
ยิ่งจับยิ่งผุดมีปัจจัยตลาดยาเสพติดปราบก็ยิ่งเฟื่องฟูเดลินิวส์อนึ่ง ในส่วนการทำงาน-การปฏิบัติการของทางเจ้าหน้าที่ ก็ต้อง “ให้กำลังใจ ชื่นชม” เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องที่ปฏิบัติภารกิจอย่าง “เสียสละ เสี่ยงตาย” เพื่อที่จะหยุดวงจรยาเสพติดไม่ให้แพร่หลายกระจายไปในสังคมไทย อย่างไรก็ตาม แต่ในมุมความสงสัยของประชาชนคนไทยเกี่ยวกับปัญหา “ยาเสพติด” ที่ดูเหมือน “ยิ่งจับ ยิ่งปราบ ยิ่งเยอะ??” นั้น ในมุมนี้ประเด็นนี้ก็น่าที่สังคมไทยจะต้องร่วมกันหาคำตอบเช่นกัน ยิ่งพิจารณาจาก รายงานการเผาทำลายยาเสพติดให้โทษของกลาง ครั้งที่ 57 โดยกองควบคุมยาเสพติด เมื่อวันที่ 16 ก.พ. 2567 ก็ยิ่ง “ชวนอึ้งกับตัวเลขของกลางที่ถูกทำลาย!!”
ยิ่งจับยิ่งผุดมีปัจจัยตลาดยาเสพติดปราบก็ยิ่งเฟื่องฟูเดลินิวส์รวมแล้วมีมากกว่า 2 แสนกิโลกรัม!!
ยิ่งจับยิ่งผุดมีปัจจัยตลาดยาเสพติดปราบก็ยิ่งเฟื่องฟูเดลินิวส์มากสุดคือ “ยาบ้า เมทแอมเฟตามีน”
ยิ่งจับยิ่งผุดมีปัจจัยตลาดยาเสพติดปราบก็ยิ่งเฟื่องฟูเดลินิวส์ทั้งนี้ โฟกัส “ปัจจัย-ตัวกระตุ้น” ที่อาจส่งผลทำให้ “ยาเสพติดฟูเฟื่อง” กับกรณีนี้ก็มีการวิเคราะห์น่าสนใจที่วันนี้ทาง “ทีมสกู๊ปเดลินิวส์” นำข้อมูลมาสะท้อนต่อ ณ ที่นี้ ซึ่งอาจช่วยฉายภาพให้คนไทยเห็นสถานการณ์รุนแรงของปัญหายาเสพติดได้ชัดขึ้นไม่มากก็น้อย โดยข้อมูลการวิเคราะห์ดังกล่าวมาจากรายงาน “จับตาทิศทางสุขภาพคนไทย ปี 2567 (Thai Health Watch 2024)” ที่จัดทำโดย สสส. ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อให้สังคมตระหนักถึง “สถานการณ์ยาเสพติดในไทย” ในปัจจุบัน
ยิ่งจับยิ่งผุดมีปัจจัยตลาดยาเสพติดปราบก็ยิ่งเฟื่องฟูเดลินิวส์ยุคที่ “ยาเสพติดหาได้ง่าย เข้าถึงง่าย”
ยิ่งจับยิ่งผุดมีปัจจัยตลาดยาเสพติดปราบก็ยิ่งเฟื่องฟูเดลินิวส์ส่งผล “ทำให้วงจรยาเสพติดเฟื่องฟู!!”
ยิ่งจับยิ่งผุดมีปัจจัยตลาดยาเสพติดปราบก็ยิ่งเฟื่องฟูเดลินิวส์ในรายงานดังกล่าวได้มีการเปิดเผยข้อมูลน่าสนใจไว้ว่า จากข้อมูล กรมราชทัณฑ์ พบว่า “นักโทษคดียาเสพติดยังคงครองแชมป์เป็นอันดับ 1” โดยสถิติผู้ต้องราชทัณฑ์คดี พ.ร.บ.ยาเสพติดทั่วประเทศ (ณ วันที่ 1 ม.ค. 2566) มีจำนวนผู้ต้องราชทัณฑ์ทั้งสิ้น 206,361 คน หรือ คิดเป็นร้อยละ 78.67 ของผู้ต้องขังทั่วประเทศ ซึ่งประเภทยาเสพติดอันดับต้น ๆ ที่พบมากสุด คือ ยาบ้า 129,686 คน รองลงมาเป็น ยาไอซ์ 17,762 คน นี่เป็นตัวเลขที่กรมราชทัณฑ์มีรายงานไว้ ในขณะที่สถิติการบำบัดก็มีตัวเลขน่าคิด โดยข้อมูล กระทรวงสาธารณสุข รายงานว่า ปี 2565 มีผู้เข้าบำบัดยาถึง 120,915 คน
ยิ่งจับยิ่งผุดมีปัจจัยตลาดยาเสพติดปราบก็ยิ่งเฟื่องฟูเดลินิวส์นี่ไม่รวม “ที่ยังไม่ถูกจับ ไม่ได้บำบัด”
ยิ่งจับยิ่งผุดมีปัจจัยตลาดยาเสพติดปราบก็ยิ่งเฟื่องฟูเดลินิวส์ที่อาจ “คลั่งอาละวาดได้ทุกขณะจิต!!”
ยิ่งจับยิ่งผุดมีปัจจัยตลาดยาเสพติดปราบก็ยิ่งเฟื่องฟูเดลินิวส์นอกจากข้อมูลสถิติแล้ว ในรายงานโดย สสส. ดังกล่าวยังระบุไว้ถึง “ปัจจัย” ที่อาจทำให้ “วงจรยาเสพติดเฟื่องฟู” สรุปได้ว่า อาจจะมาจาก 4 ปัจจัยสำคัญ ที่เป็น“ตัวกระตุ้นทำให้ยาเสพติดเข้าถึงง่าย ซื้อขายสะดวก” ได้แก่
ยิ่งจับยิ่งผุดมีปัจจัยตลาดยาเสพติดปราบก็ยิ่งเฟื่องฟูเดลินิวส์ปัจจัยที่หนึ่ง “สารตั้งต้นผลิตยาเสพติดถูกลง” โดยปัจจุบันสารเคมีสำหรับผลิตยาเสพติดมีราคาไม่สูงเท่าในอดีต อีกทั้งยังหาซื้อได้ตามแพลตฟอร์มออนไลน์ ที่บางแพลตฟอร์มขายในราคากิโลกรัมละไม่ถึง 100 บาทก็มี!! ซึ่งอาจเป็นสาเหตุทำให้ต้นทุนการผลิตยาเสพติดลดลงอย่างมีนัยสำคัญ, ปัจจัยที่สอง “ค่าขนส่งถูกลง” เมื่อเทียบกับในยุคอดีตที่การลักลอบขนส่งยาเสพติดนั้นจะต้องทำโดยใช้รถหรือเรือเท่านั้น ทำให้เกิดความเสี่ยงจะเจอด่านตรวจได้ จึงทำให้มีต้นทุนในการขนส่งสูงมาก แต่ปัจจุบันขบวนการค้ายาเสพติดมีการใช้วิธีลักลอบจัดส่งทางพัสดุ ส่งผลทำให้ต้นทุนต่ำลง อีกทั้งยังขนส่งได้รวดเร็วขึ้น
ยิ่งจับยิ่งผุดมีปัจจัยตลาดยาเสพติดปราบก็ยิ่งเฟื่องฟูเดลินิวส์ปัจจัยที่สาม “เทคโนโลยีการผลิตดีขึ้น”ซึ่งการที่อุปกรณ์ที่ใช้ผลิตยาเสพติดพัฒนาขึ้น ทำให้สามารถผลิตยาเสพติดแต่ละครั้งได้ในอัตราที่เร็วขึ้นกว่าในอดีตถึง 100 เท่า อีกทั้งเทคโนโลยีที่พัฒนาไปไกลยังทำให้สามารถตั้งแหล่งผลิตยาเสพติดได้ง่ายขึ้น โดยไม่จำเป็นต้องผลิตในบริเวณพื้นที่ตะเข็บชายแดนอย่างเดียว, ปัจจัยที่สี่ “กลไกการตลาดเปลี่ยนไป” โดยเมื่อต้นทุนการผลิตและต้นทุนขนส่งลดลง รวมทั้งมีเทคโนโลยีที่ก้าวหน้ามากขึ้น เหตุนี้จึงทำให้ผู้ผลิตยาเสพติดสามารถผลิตออกมาได้ในปริมาณมาก อีกทั้งรูปแบบการผูกขาดการค้ายาเสพติดแบบในอดีต ที่ทำได้เฉพาะเพียงผู้มีอิทธิพล ก็ค่อย ๆ หายไป ซึ่งในยุคใหม่พบว่า ขบวนการค้ายาเสพติดได้เปิดโอกาสให้ผู้ค้ายารายใหม่สามารถขายยาได้เอง ผ่านช่องทางโซเชียล หรือแพลตฟอร์มออนไลน์ เหล่านี้เป็นภาพ “สถานการณ์ปัจจัย”ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น ที่ในรายงานดังกล่าวข้างต้นได้สะท้อนไว้
ยิ่งจับยิ่งผุดมีปัจจัยตลาดยาเสพติดปราบก็ยิ่งเฟื่องฟูเดลินิวส์ข้อสงสัย “ยิ่งจับ ยิ่งปราบ ยิ่งเยอะ??”
ยิ่งจับยิ่งผุดมีปัจจัยตลาดยาเสพติดปราบก็ยิ่งเฟื่องฟูเดลินิวส์ปุจฉา “ตลาดค้ายาเสพติดฟูเฟื่อง??”
ยิ่งจับยิ่งผุดมีปัจจัยตลาดยาเสพติดปราบก็ยิ่งเฟื่องฟูเดลินิวส์มี “4 ปัจจัยน่าคิด-น่าโฟกัสจัดการ!!”.
ยิ่งจับยิ่งผุดมีปัจจัยตลาดยาเสพติดปราบก็ยิ่งเฟื่องฟูเดลินิวส์ทีมสกู๊ปเดลินิวส์
ยิ่งจับยิ่งผุดมีปัจจัยตลาดยาเสพติดปราบก็ยิ่งเฟื่องฟูเดลินิวส์本文地址:http://realhistorychan.com/funeral-of-joe-biden.html
版权声明
本文仅代表作者观点,不代表本站立场。
本文系作者授权发表,未经许可,不得转载。